ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
เมนูหลัก
ประวัติความเป็นมา
ติดต่อสอบถาม
หนังสือ
เอกสารยื่น ศ.ต.ภ.
พระพุทธรูป, ศิลปะคันธาระ, ศิลปะคุปตะ, ศิลปะปาละ, ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
พระพุทธรูป
ศิลปะคันธาระ
ศิลปะคุปตะ
ศิลปะปาละ
ข้อมูลอินเดียแดนพุทธภูมิ
ข้อมูลแดนพุทธภูมิ
แผนที่แดนพุทธภูมิ
พุทธคยา
ราชคฤห์-นาลันทา
ปัตนะ
ไวสาลี
เกสริยา
กุสินารา
กบิลพัสดุ์
กบิลพัสดุ์ ฝั่งอินเดีย
นิโครธาราม
รามคามสถูป นครเทวทหะ
ลุมพินี
สาวัตถี
สังกัสสนคร
สารนาถ
โกสัมพี
แคว้นอวันตี
Flag Counter
ข้อมูลอินเดีย
ข้อมูลพุทธสถาน
สาญจี
ถ้ำอชันตา
ถ้ำเอลโลร่า
ถ้ำออรังกาบัด
ถ้ำกัณเหรี
อโยธยา
ข้อมูลอินเดีย
ข้อมูลอินเดีย
นิวเดลี
อัครา
ฟาเตห์ปูร์ สิครี
ราชสถาน
หริทวาร, ฤาษีเกษ
จัมมู - แคชเมียร์
เลห์-ลาดักห์
อัมริตสาร์
มะนาลี-ชิมลา
ดารัมชาลา
เมืองลัคเนา
โกลกาตา
สะสาราม
พาราณสี
นิลกาย
มุมไบ
ข้อมูลอินใต้
ข้อมูลอินเดียใต้
รัฐเตลังคานา
ข้อมูลศรีลังกา
ข้อมูลศรีลังกา
ไหว้พระศรีลังกา
ข้อมูลอินโดนีเซีย
ข้อมูลอินโดนีเซีย
บุโรพุทโธ บาหลี
ข้อมูลพม่า
ข้อมูลพม่า
ย่างกุ้ง/ ไจโท้/หงสา/ สิเรียม
มัณฑะเลย์/พุกาม/อินเล/
ข้อมูลสิงคโปร์
ข้อมูลสิงคโปร์
สิงคโปร์
ข้อมูลมาเลเซีย
ข้อมูลมาเลเซีย
มาเลเซีย
ข้อมูลกัมพูชา
ข้อมูลกัมพูชา
เสียมเรียบ/นครวัด/นครธม
ข้อมูลลาว
ข้อมูลลาว
เวียงจันทร์/วังเวียง
หลวงพระบาง
ลาวใต้
ข้อมูลลาว
ข้อมูเวียดนาม
ฮานอย/ซาปา
ดานัง
โฮจิมินห์
ข้อมูลอินเดีย
โปรแกรมทัวร์ เดินทางคนเดี่ยว
สี่สังเวชฯ+อัครา+ราชสถาน+เดลี(21วัน)
สี่สังเวชฯ+สาญจี+อชันตา+เอโลร่า+มุมไบ (14วัน)
สี่สังเวชฯ+อัครา,ทัชมาฮาล+จัยปูร์+เดลี(11วัน)
ข้อมูลลาว
ข้อมูลทวีปยุโรป
กรุงเทพ-ลอนดอน
อิตาลี
อังกฤษ
ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)



ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)


ฟเตหปุระสีกรี เป็นพระราชวังสร้างโดยหินทรายแดง สร้างโดยพระเจ้าอักบัร ยังเมืองหลวงของจักรวรรดิโมกุลอยู่ระยะหนึ่ง สถาปัตยกรรมแบบเปอร์เซียผสมอินเดียที่วิจิตรงดงามอลังการ
ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)


ฟเตหปุระสีกรี (อังกฤษ: Fatehpur Sikri; ฮินดี: ???????? ?????; อูรดู: ?????? ?????) เป็นเมืองตั้งอยู่ในเขตอำเภออัคระ รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1569 โดยสมเด็จพระจักรพรรดิอักบัร และยังใช้เป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิโมกุลระหว่างปี ค.ศ. 1571–1585[1] ภายหลังจากชัยชนะจากสงครามกับชาวเมืองจิตเตารครห์ (Chitaurgarh) และรณถัมโภระ (Ranthambore) พระองค์จึงทรงตัดสินพระทัยย้ายเมืองหลวงจากอัคระมายังที่แห่งใหม่บริเวณนี้ ซึ่งอยู่ห่างจากที่ตั้งของสะพานสิครีเป็นระยะทาง 23 ไมล์ (37 กิโลเมตร) เพื่อเป็นเกียรติแก่นักบุญลัทธิศูฟี พระนามว่า "ซาลิม คิชติ" (Salim Chishti) โดยได้ใช้เวลาออกแบบผังเมืองและสร้างถึง 15 ปี ซึ่งรวมถึงกำแพงเมืองรอบด้าน พระราชวัง ตำหนัก ฮาเร็ม ศาล มัสยิด และอาคารสาธารณูปโภคต่าง ๆ [2] ทรงตั้งชื่อเมืองว่า "ฟะเตฮาบาด" (Fatehabad) มาจากคำภาษาอาหรับว่า "ฟัตห์" แปลว่า "ชัยชนะ" และต่อมากลายเป็น "ฟเตหปุระสีกรี" (Fatehpur Sikri)[3] ฟเตหปุระสีกรี นั้นถือเป็นหนึ่งในสิ่งปลูกสร้างในสถาปัตยกรรมโมกุลที่อยู่ในสภาพสมบูรณ์ที่สุดในประเทศอินเดีย

จากการสันนิษฐานของนักประวัติศาสตร์ จักรพรรดิอักบัรได้มีส่วนร่วมในการออกแบบและก่อสร้างสถานที่แห่งนี้อย่างมาก โดยตั้งใจที่จะชุบชีวิตอันหรูหราของราชสำนักเปอร์เซียโบราณ โดยการวางแผนนั้นรับรูปแบบตามราชสำนักเปอร์เซีย แต่มีการปรับโดยใส่รายละเอียดแบบอินเดีย การก่อสร้างนั้นใช้หินทรายสีแดงที่มีแหล่งอยู่ใกล้เคียงกับฟเตหปุระสีกรี ดังนั้นสิ่งก่อสร้างหลัก ๆ นั้นจะมีสีแดง บริเวณหมู่ราชมนเทียรประกอบด้วยตำหนักหลายหลังเรียงต่อกันอย่างเรียบร้อยและสมมาตรบนฐานเดียวกัน เป็นลักษณะพิเศษที่นำมาจากการก่อสร้างแบบอาหรับ และเอเชียกลาง โดยองค์รวมแล้ว ถือได้ว่าพระองค์นั้นทรงพระปรีชาสามารถยิ่งในการผสมผสานสถาปัตยกรรมต่าง ๆ เพื่อเป็นสถาปัตยกรรมในแบบของพระองค์เอง

นครฟเตหปุระสีกรีนั้นถูกทิ้งร้างในปี ค.ศ. 1585 ภายหลังจากการเสร็จสิ้นเพียงไม่กี่ปีเนื่องจากการขาดแคลนแหล่งน้ำ และที่ตั้งของเมืองซึ่งอยู่ใกล้กับอาณาเขตของอาณาจักรราชปุตนะทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ซึ่งได้เกิดเหตุการณ์ไม่สงบบ่อยมากขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้นจักรพรรดิอักบัรจึงมีพระราชดำริให้ย้ายเมืองหลวงไปยังลาฮอร์แทน ก่อนจะย้ายกลับไปยังอัคระในปี ค.ศ. 1598 ที่ซึ่งพระองค์เริ่มปกครองสมัยแรก ๆ ที่พระองค์มีความสนใจต่อดินแดนแถบเดกกันขึ้น[5] พระองค์มิได้ย้ายกลับมาประทับที่นครแห่งนี้อีกเลย ยกเว้นเพียงช่วงสั้น ๆ ในปี ค.ศ. 1601 เท่านั้น

ในประวัติศาสตร์โมกุลสมัยต่อมาได้มีการชุบชีวิตให้กับฟเตหปุระสีกรีอีกครั้งหนึ่งเป็นช่วงระยะเวลาสั้น ๆ ในรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิมูฮัมมัดชาห์ (ครองราชย์ ค.ศ. 1719 - ค.ศ.1748) และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ซัยยิด ฮุสเซน อาลี คาน บาร์ฮา ซึ่งเป็นหนึ่งในสองพี่น้องซัยยิดแห่งจักรวรรดิโมกุล ซึ่งถูกลอบสังหารในสถานที่แห่งนี้ในปี ค.ศ. 1720 ในปัจจุบันพระราชวังและบริเวณสถานที่แห่งนี้ยังอยู่ในสภาพสมบูรณ์ดีเยี่ยมทำให้มีลักษณะคล้ายเมืองผีสิง (เมืองร้าง) ซึ่งยังคงมีกำแพงเมืองเป็นปราการโดยรอบทั้งสามทิศอย่างสมบูรณ์ตั้งแต่แรกก่อสร้าง โดยรอบนอกของบริเวณเป็นเมืองใหม่ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกของฟเตหปุระสีกรี ซึ่งได้ยกระดับเป็นเทศบาลตั้งแต่ปี ค.ศ. 1865-1904 และต่อมากลายเป็นเมืองในที่สุด ในประวัติศาสตร์อันยาวนานของแถบนี้เคยเป็นที่รู้จักด้านงานหิน และแกะสลักหิน และในช่วงของจักรพรรดิอักบัรนั้นยังมีชื่อเสียงด้านการทอผ้าไหมอีกด้วย



ดิวัน-อิ-กัส (Diwan-i-Khas) หรือท้องพระโรงส่วนพระองค์ ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)
- สำหรับใช้เพื่อต้อนรับกษัตริย์ คณะทูตานุทูต และแขกสำคัญเป็นการส่วนพระองค์ โดยพระจักรพรรดิจะประทับบนบัลลังก์สีดำ



ดิวัน-อิ-กัส (Diwan-i-Khas) หรือท้องพระโรงส่วนพระองค์ ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)




ดิวัน-อิ-กัส (Diwan-i-Khas) หรือท้องพระโรงส่วนพระองค์ ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)




ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)




ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)
สระน้ำ (Anup talao) แท่นกลางน้ำ ใช้สำหรับประกวดร้องเพลง



ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)
พันช์มาฮาล (Panch Mahal) ตำหนักสูงห้าชั้น



ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)




ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)




ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)




ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)




ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)




ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)




ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)




ฟาเตห์ปูร์ สิครี (Fatehpur Sikri)




สวนนกแห่งชาติ









โพธิสิกขาลัย (Bodhisikkhalai)
โทร 0-3587-3065, 085-7777-184 แฟกซ์ 0-3587-3058
Line ID: 0857777184
เว็บไซต์ : www.bodhisikkhalai.com
อีเมล: bodhisikkhalai@gmail.com


Copyright © 2011 All Rights Reserved