ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
เมนูหลัก
ประวัติความเป็นมา
ติดต่อสอบถาม
หนังสือ
เอกสารยื่น ศ.ต.ภ.
พระพุทธรูป, ศิลปะคันธาระ, ศิลปะคุปตะ, ศิลปะปาละ, ทัวร์อินเดีย, เที่ยวอินเดีย, ทัวร์สังเวชนียสถาน, ทัวร์แดนพุทธภูมิ, ไหว้พระอินเดีย, tourindia, travelindia
พระพุทธรูป
ศิลปะคันธาระ
ศิลปะคุปตะ
ศิลปะปาละ
ข้อมูลอินเดียแดนพุทธภูมิ
ข้อมูลแดนพุทธภูมิ
แผนที่แดนพุทธภูมิ
พุทธคยา
ราชคฤห์-นาลันทา
ปัตนะ
ไวสาลี
เกสริยา
กุสินารา
กบิลพัสดุ์
กบิลพัสดุ์ ฝั่งอินเดีย
นิโครธาราม
รามคามสถูป นครเทวทหะ
ลุมพินี
สาวัตถี
สังกัสสนคร
สารนาถ
โกสัมพี
แคว้นอวันตี
Flag Counter
ข้อมูลอินเดีย
ข้อมูลพุทธสถาน
สาญจี
ถ้ำอชันตา
ถ้ำเอลโลร่า
ถ้ำออรังกาบัด
ถ้ำกัณเหรี
อโยธยา
ข้อมูลอินเดีย
ข้อมูลอินเดีย
นิวเดลี
อัครา
ฟาเตห์ปูร์ สิครี
ราชสถาน
หริทวาร, ฤาษีเกษ
จัมมู - แคชเมียร์
เลห์-ลาดักห์
อัมริตสาร์
มะนาลี-ชิมลา
ดารัมชาลา
เมืองลัคเนา
โกลกาตา
สะสาราม
พาราณสี
นิลกาย
มุมไบ
ข้อมูลอินใต้
ข้อมูลอินเดียใต้
รัฐเตลังคานา
เมืองกาญจีปุรัม
ฮัมปิ
ข้อมูลศรีลังกา
ข้อมูลศรีลังกา
ไหว้พระศรีลังกา
ข้อมูลอินโดนีเซีย
ข้อมูลอินโดนีเซีย
บุโรพุทโธ บาหลี
ข้อมูลพม่า
ข้อมูลพม่า
ย่างกุ้ง/ ไจโท้/หงสา/ สิเรียม
มัณฑะเลย์/พุกาม/อินเล/
ข้อมูลสิงคโปร์
ข้อมูลสิงคโปร์
สิงคโปร์
ข้อมูลมาเลเซีย
ข้อมูลมาเลเซีย
มาเลเซีย
ข้อมูลกัมพูชา
ข้อมูลกัมพูชา
เสียมเรียบ/นครวัด/นครธม
ข้อมูลลาว
ข้อมูลลาว
เวียงจันทร์/วังเวียง
หลวงพระบาง
ลาวใต้
ข้อมูลลาว
ข้อมูเวียดนาม
ฮานอย/ซาปา
ดานัง
โฮจิมินห์
ข้อมูลอินเดีย
โปรแกรมทัวร์ เดินทางคนเดี่ยว
สี่สังเวชฯ+อัครา+ราชสถาน+เดลี(21วัน)
สี่สังเวชฯ+สาญจี+อชันตา+เอโลร่า+มุมไบ (14วัน)
สี่สังเวชฯ+อัครา,ทัชมาฮาล+จัยปูร์+เดลี(11วัน)
ข้อมูลลาว
ข้อมูลทวีปยุโรป
กรุงเทพ-ลอนดอน
อิตาลี
อังกฤษ
มหาสถูปเกสริยา (Kesariya Maha stupa)

มหาสถูปเกสริยา (Kesariya Maha stupa) เขตจังหวัดจัมบารัน (Champaran) แคว้นวัชชี รัฐพิหาร สร้างขึ้นเป็นฐานกลมครั้งแรกในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๔ -๖ และมีการปฏิสังขรณ์เติมซุ้มคูหาในยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๓ เป็นมหาสถูปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในอินเดีย เกสริยา เป็นสถูปยุคแรกๆ ของพระพุทธศาสนา โบโรพุทโธ อินโดนีเซียได้รับอิทธิพลศิลปะจากพระสถูปแห่งนี้
มองจากลักษณะฐานและซอกมุมของพระเจดีย์มีที่วางประดิษฐานพระพุทธรูปมีความเหมือนกัน สถูปเกสริยา เป็นสถานที่บรรจุบาตรของพระพุทธองค์ และพระพุทธเจ้ายังได้ทรงแสดงกาลามสูตรให้กับชาวเกสปุตตคามฟังปัจจุบันเกสริยาเป็นเนินดินปกคลุมด้วยดิน หญ้า ต้นไม้ เป็นจำนวนมาก กำลังได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์ เป็นพระสถูปใหญ่โต แสดงให้เห็นถึงความสำคัญ ตลอดจนผู้ที่มีทุนทรัพย์ในการก่อสร้าง

พระเจดีย์ ที่มีลักษณะสัณฐาณคล้ายกัน
เกสริยา อินเดีย
บุโรพุทโธ อินโดนีเชีย
ชเวดากอง พม่า


พระสถูปเจติยะ องค์แรกของโลก
เจดีย์ ถือเป็นปูชนียสถานหรือวัตถุเพื่อระลึกถึงพระพุทธเจ้าหรืออาจจะหมายถึงตัวแทนของพระพุทธองค์ มีความมุ่งหมายให้เป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุหรือบรรจุพระบรมธาตุ เจดีย์จึงเป็นประธานในวัด ต้นกำเนิดของเจดีย์มาจากอินเดียเรียกว่า “สถูป” ในภาษาบาลี หรือ “ถูป” ในภาษาสันสกฤต แต่เดิมก่อนมีพระพุทธศาสนาเป็นที่ฝังอัฐิ ในล้านนาเรียกเจดีย์ว่า กู่ เช่น กู่เต้า กู่กุด ต่างจากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือนิยมเรียกเจดีย์ว่า ธาตุ เช่น พระธาตุพนม ในทางพุทธศาสนาแบ่งเจดีย์ออกเป็น ๔ ประเภท คือ ธาตุเจดีย์ ธรรมเจดีย์ อุเทสิกเจดีย์ และบริโภคเจดีย์ ต่อมาสามัญชนหรือบุคคลชั้นปกครองได้นิยมนำอัฐิเจดีย์ของผู้มีเกียรติสูง บรรจุไว้ในเจดีย์ด้วยแต่ต่างวัตถุประสงค์กัน”
พระเจ้าอชาติศัตรู กษัตริย์แห่งแคว้นมคธ จึงให้นำพระอัฐิธาตุที่รวบรวมกลับคืนมาได้ทั้งหมดนั้น สร้างเป็นสถูปทองแดงบรรจุฝังลงไว้ในห้องกรุใต้ดิน ลึกลงไป ๘๐ ศอก บุพื้นด้วยแผ่นทองแดง พร้อมเครื่องบูชาและสมบัติมีค่าแห่งพระจักรพรรดิ แล้วปิดกรุด้วยแผ่นศิลา สร้างพระสถูปขนาดใหญ่ประดิษฐานทับเหนือห้องกรุนั้นไว้เป็นมั่นคง
หากนับตามวรรณกรรม ก็อาจถือได้ว่า “พระสถูป” ในความหมายของ “เจติยสถาน” แห่งแรกของโลก คือเนินสถูปที่ถูกสร้างขึ้นโดย “พระเจ้าอชาตศัตรู” ที่ “กรุงราชคฤห์” (Rajgriha) ในช่วงเริ่มแรกของพุทธศตวรรษ
แต่หากจะนับหลักฐานที่ค้นพบทางโบราณคดีแล้ว “พระสถูป- เจติยะ” แห่งแรกของโลก น่าจะถูกสร้างขึ้นครั้งแรกในยุคสมัยของ พระเจ้าอโศกมหาราช (Ashoka The Great) ความเชื่อแบบเทวนิยมของกรีกกำลังรุ่งเรือง ทรงได้รับการศึกษา เรียนรู้วิทยาการ ภูมิปัญญา คติความเชื่อศิลปวัฒนธรรม จากดินแดนตะวันตก ไม่ว่าจะเป็นอิทธิพลของกรีก เปอร์เซีย หรืออียิปต์ ที่ทิ้งไว้ในแคว้น “คันธาระ” (Gandhara) ทรงรับเอา “วิถีแห่งชีวิต” (Life Style) ศิลปกรรมและความเชื่อในเรื่องเทพเจ้า การสร้างเนินสุสานและพิธีกรรมแห่งความตายของชาวคันธาระ มาสู่อินเดียเหนือ
รูปแบบของ “พระสถูปเจติยะ”องค์แรกของโลก อาจมีลักษณะเป็นเนินดินสูงแบบสุสานทูมูรัสของกรีก – ไซเธี่ยน ใต้พื้นทำเป็นห้องกรุบรรจุพระอัฐิธาตุ (Relics chamber) และของมีค่าควรแก่ “พระจักรพรรดิราชา” (Universal Emperor) ด้านบนเนินดินอัดด้วยหินกรวดและดินในรูปโดมหรือโอคว่ำ เหนือเนินดินมีรูปสัญลักษณ์แห่งความศักดิ์สิทธิ์และแท่นบูชาเพื่อใช้ในการปะกอบพิธีกรรม








โพธิสิกขาลัย (Bodhisikkhalai)
โทร 0-3587-3065, 085-7777-184 แฟกซ์ 0-3587-3058
Line ID: 0857777184
เว็บไซต์ : www.bodhisikkhalai.com
อีเมล: bodhisikkhalai@gmail.com


Copyright © 2011 All Rights Reserved